สำนักงาน ประกันสังคม คืออะไร?

สำนักงาน ประกันสังคม คืออะไร?

สำนักงาน ประกันสังคม คืออะไร?

เชื่อว่าหลาย ๆ คนที่มีงานทำแล้ว ก็ยังไม่เข้าใจกับคำว่า ประกันสังคม เเล้ว สำนักงาน ประกันสังคม คืออะไร? ทำไม? ต้องจ่ายเป็นประจำทุก ๆ เดือน เราเคยสงสัยกันไหม? ว่าทำไม ? เเล้วเราต้องจ่ายเงินส่วนนี้ด้วย? วันนี้เราจะทำความเข้าใจกันว่า ประกันสังคม ที่คนทำงานเขาต้องจ่ายกัน มันคืออะไร แล้วใครเป็นผู้ประกันตน เพื่อให้ผู้ที่ยังมีข้อสงสัย สามารถเข้าใจประกันสังคมได้มากยิ่งขึ้น

ประกันสังคม คืออะไร?

ประกันสังคม เป็นสวัสดิการที่ทางรัฐมอบให้แก่ลูกจ้าง โดยลูกจ้างและนายจ้างต้องส่งเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมตามกฎหมาย โดยจะทำการหักเงินจากฐานเงินเดือน 5% สูงสุดไม่เกิน 750 บาท/เดือน เป็นการสร้างหลักประกันสังคมในการดำรงชีวิตของสมาชิกที่มีรายได้

ซึ่งประกันสังคมหรือระบบประกันสังคมนั้นมีมานานแล้วในต่างประเทศ แต่ประเทศไทยพึ่งเข้ามาเมื่อปี พ.ศ. 2480 อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยเริ่มมี สำนักงานประกันสังคม เพื่อให้บริการ ประกันสังคม อย่างเต็มรูปแบบเมื่อ 2 กันยายน พ.ศ. 2533 ในการคุ้มครองลูกจ้าง จากการเจ็บป่วย ทั้งที่เกิดขึ้นจากการทำงาน และ นอกเหนือจากการทำงาน ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องกับประกันสังคมหลัก ๆ จะประกอบไปด้วย

1.ผู้ประกันตน ผู้ประกันตน คือ ลูกจ้างที่มีอายุ ไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์ แต่ถ้าลูกจ้างอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์แต่นายจ้างยังจ้างให้ทำงานต่อให้ถือเป็นผู้ประกันตนต่อไป โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

1.กลุ่มที่ทำงานประจำ ต้องจ่ายเงินสมทบตามกฏหมาย

2.กลุ่มที่เคยทำงานประจำ แต่ลาออกและไม่ได้สมัครงานประจำต่อ ซึ่งเคยจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่ต่ำกว่า 12 เดือนตอนที่ยังทำงานประจำอยู่ และลาออกจากงานประจำไม่เกิน 6 เดือนเมื่อลาออกแล้วยังสมัครใจที่จะจ่ายเงินสมทบอยู่

3.รวมไปถึงกลุ่มที่ไม่ได้ทำงานประจำ (ฟรีแลนซ์) อายุ 15-60 ปี เลือกจ่ายเงินสมทบเองเพื่อให้ได้ สิทธิ์ประกันสังคม

2.นายจ้าง คือ ผู้ที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป เป็นผู้มีหน้าที่ต้องขึ้นทะเบียนนายจ้างพร้อมกับขึ้นทะเบียนลูกจ้างภายใน 30 วัน และเมื่อมีการจ้างลูกจ้างใหม่ต้องแจ้งขึ้นทะเบียนลูกจ้างใหม่ภายใน 30 วันเช่นกัน

3.รัฐบาล

เงินสมทบ

เงินสมทบ คือ เงินที่นายจ้าง ลูกจ้าง ต้องนำส่งกองทุนประกันสังคมทุกเดือน ซึ่งในบทความนี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะเงินสมทบสำหรับผู้ประกันตนกลุ่มที่ 1 กลุ่มทำงานประจำเท่านั้น ส่วนกลุ่มอื่นๆจะกล่าวถึงในบทความต่อๆไป

กลุ่มผู้ประกันตนกลุ่มนี้ จะคำนวณเงินสมทบจาก ค่าจ้าง ลูกจ้าง ซึ่งกำหนดไว้ ไม่ต่ำกว่าเดือนละ 1,650 บาท และสูงสุดไม่เกินเดือนละ 15,000 บาท ซึ่งรัฐบาลจะร่วมสมทบด้วยส่วนหนึ่ง โดยลูกจ้างจะถูกนายจ้างหักเงินเดือนในอัตราร้อยละ 5 ของค่าจ้าง นายจ้างจะร่วมจ่ายสมทบด้วยในอัตราที่เท่ากัน คือร้อยละ 5 และรัฐบาลร่วมจ่ายสมทบด้วยในอัตราร้อยละ 2.75

ผู้ประกันตนคือใครกัน?

 คำว่า “ผู้ประกันตน” คือลูกจ้างหรือพนักงาน โดยผู้ประกันตนจะต้องเลือกสถานพยาบาลที่ตนเองสะดวก ซึ่งผู้ประกันตนจะแบ่งออกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน

-ผู้ประกันตนที่เป็นลูกจ้างตามมาตรา 33 คือลูกจ้างหรือพนักงานประจำที่มีอายุมากกว่า 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีอายุไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์

-ผู้ประกันตนที่สมัครใจตามมาตรา 39 คือบุคคลที่เลิกเป็นลูกจ้างประจำหรือลาออกจากงานและเคยเป็นผู้ประกันตนในมาตรา 33 มาไม่ต่ำกว่า 12 เดือนแล้วลาออกมาไม่ต่ำกว่า 6 เดือน โดยต้องไม่เป็นผู้ทุพพลภาพ ซึ่งหากต้องการเป็นผู้ประกันตนต่อหลังจากลาออกจากงาน ผู้ประกันตนสามารถแจ้งกับสำนักงานภายใน 6 เดือน โดยจะต้องส่งเงินเข้ากองทุนประกันสังคมภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป

-ผู้ประกันตนที่เป็นอิสระ ตามมาตรา 40 คือบุคคลที่ ทำงานอิสระ ที่ไม่เคยเป็น ผู้ประกันตนในมาตรา 33 และมาตรา 39 มาก่อน โดยต้องมีอายุ  15 – 60 ปี

ทำไมเราต้องจ่ายเงินประกันสังคมทุก ๆ เดือน?

  ตามที่กล่าว slot https://slotxo.game/ไปข้างต้นประกันสังคม คือหลักประกันความเสี่ยง ที่อาจเกิดขึ้น กับการดำรงชีวิตของผู้ประกันตน ทั้งการเจ็บป่วย การรักษาพยาบาล การคลอดบุตร ทุพพลภาพ ว่างงาน สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และตาย ประกันตนจะทำให้ ผู้ประกันตน ได้รับการดูแล และการทดแทนรายได้ อย่างเช่น เมื่อผู้ประกันตน ต้องการพบแพทย์ ยามป่วยไข้ ก็สามารถใช้สิทธิประกันสังคมโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษา นอกจากนี้ยังมีสิทธิประโยชน์อื่น ๆ อีกมากมายที่ผู้ประกันตนจะได้รับ

สิทธิประกันสังคม สิทธิประโยชน์ที่คนทำงานจะต้องได้รับ

ลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม

ขยายเวลาส่งเงินสมทบ นายจ้าง และ ผู้ประกันตนมาตรา 33, 39

งวดค่าจ้างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ออกไปอีก 3 เดือน

อ่านเพิ่มเติม

บทความที่น่าสนใจ >> เกมส์ สล็อต ผล ไม้

Content by:

ข้อมูลอัพเดทล่าสุด : 13 กันยายน 2020 (ล่าสุดปี 2020)