รอบรู้เรื่อง แผนที่

แผนที่ คืออะไร

แผนที่

แผนที่ เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อเสนอขุอมูลเกี่ยวกับรูปลักษณ ะและที่ตั้งของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฎอยู่บนผิวโลก ด้วยการเขียน ย่อส่วน และใช้สัญลักษณ์ แทนสิ่งต่างๆ โดยทำลงใน วัสดุพื้น
ที่แบน ราบหรือ แผ่่นกระดาษ ลักษณะที่ ปรากฎขึ้น บนผิวโลก ประกอบด้วยepicwin

1.สิ่งที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ เช่น ทวีปต่างๆ ทะเล มหาสมุทร แม่น้ำ เนินเขา ภูเขา ที่ราบ เกาะ พื้นที่ป่าไม้ เป็นต้นslot 2. สิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น เช่น เมือง หมู่บ้าน สนามบิน เส้นทางคมนาคม เขื่อน พื้นที่ เกษตรกรรม เขตอุตสาหกรรม แผนที่ เป็นเครื่องมือ ทางภูมิศาสตร์ที่มี ความสำคัญ ต่อการเรียน

วิชาภูมิศาสตร์เป็นอย่างมาก เนื่องจากการเรียนวิชานี้ ต้องกล่าวถึงสถาน ที่ที่มีขนาดต่างกันทั้งที่ เป็นธรรมชาติและสิ่งที่มุนษย์สร้างขึ้น ตลอดจน ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นบน พื้นผิวโลก และสิ่งที่จะสามารถนำมาใช้อธิบายสภาพพื้นที่ สถานที่ได้ดีที่สุด คือ แผนที่ สล็อต

แผนที่หมายถึง

แผนที่ หมายถึง พจนานุกรมศัพท์ทางภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายแผนที่ไว้ว่า “แผนที่ หมายถึง สื่อรูปแบบหนึ่งที่ถ่ายทอด ข้อมูลของโลก ในรูปกราฟิก โดยการย่อส่วน ให้เล็กลงด้วย มาตราส่วนขนาดต่างๆ และเส้นโครงแผนที่แบบต่างๆ ให้เข้าใจ ตรงตามวัตถุประสงค์ ด้วยการใช้สัญลักษณ์” ดังนั้น จึงกล่าวไว้ว่า แผนที่เป็น สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อ แสดงลักษณะ ของพื้นผิวโลก และสิ่งที่ปรากฏอยู่ บนพื้นผิวโลก และสิ่งที่ ปรากฏอยู่บนพื้น ผิวโลกทั้งที่ เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ด้วยการย่อส่วนให้มี ขนาดเล็กลงตาม อัตราส่วน ที่ต้องการและใช้ สัญลักษณ์แทนสิ่งต่างๆ ที่มีอยู่จริงบนผิวโลก ทั้งนี้จะคงความเหมือนจริงทั้งขนาด รูปร่าง ทิศทาง และตำแหน่งที่ตั้งไว้สล็อต

แผนที่มี2ชนิดคือ

แผนที่

1.แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Map) เป็นแผนที่แสดง ข้อมูลรายละเอียดของผิว โลกที่เกี่ยวกับภูมิลักษณ์แบบต่าง ๆ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบ แม่น้ า ทะเล ทะเลสาบ เป็นต้น และสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น เช่น เมือง หมู่บ้าน พื้นที่เกษตรกรรม อ่างเก็บน้ า ถนน ทางรถไฟ เป็นต้นแผนที่ภูมิประเทศ แสดงความสูงค่า ของผิวโลก ด้วยเส้นชั้นความสูง (contour line) และหมุดระดับ (bench mark) จัดท าโดยกรมแผนที่ทหาร แผนที่ภูมิประเทศที่ใช้กันมากมี 2 มาตราส่วน ได้แก่ แผนที่มาตรา ส่วนเล็ก คือ มาตราส่วน 1 : 250,000 และแผนที่มาตรา ส่วนใหญ่ คือ มาตราส่วน 1 : 50,000 เนื่องจาก แผนที่ภูมิประเทศทั้ง สองมาตราส่วนจัด ทำขึ้นจากข้อมูลที่ได้ มาจากรูปถ่ายทาง อากาศและภาพจากดาวเทียม จึงได้ ข้อมูลที่ปรากฏ อยู่บนพื้นผิวโลกที่ถูกต้อง และทันสมัย มีจุดพิกัดภูมิศาสตร์อ้างอิงได้ จึงเป็นแผนที่ที่มี ความนิยมใช้ใน งานสาขาอื่นๆ เช่น การสร้างถนน การสร้างเขื่อน การสร้างเมืองใหม่ การป้องกันอุทกภัย เป็นต้น epicwin slot

2.แผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic Map) เป็นแผนที่ที่จัดทำ ขึ้นเพื่อ แสดงข้อมูล หลักเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น แผนที่ประชากร แผนที่อากาศ แผนที่ป่าไม้ แผนที่ท่องเที่ยว แผนที่เหล่านี้จะมีการสำรวจ เพิ่มเติม หรือ ปรับแก้ไขข้อมูลให้ทัน สมัยเป็นระยะ ๆ ไปมาตรา ส่วนของแผนที่เฉพาะ เรื่องมีความ หลากหลาย ตามลักษณะ ข้อมูลที่ ต้องการแสดง แต่ส่วนมากจะเป็นมาตราส่วนเล็ก เช่น มาตราส่วนเล็กกว่า 1 : 1,000,000 1 : 500,000 หรือ 1 : 250,000 เป็นต้น ส่วนแผนที่ เฉพาะเรื่อง ที่มีลักษณะ เชิงวิชาการ เช่น แผนที่ชุดดิน แผนที่การใช้ประโยชน์ ที่ดิน แผนที่ธรณี วิทยาและแหล่งแร่ อาจท าเป็นแผนที่มาตราส่วน 1 : 100,000 หรือ 1 : 50,000 แต่พื้นที่เฉพาะเรื่องบางชนิด ที่ต้อง การแสดง เฉพาะพื้น ที่ขนาดเล็ก เช่น ทรัพยากร ธรรมชาติ ในตำบลหรือหมู่บ้าน อาจจะมี การจัด ทำแผนที่มาตราส่วนใหญ่ได้ เนื่องจากแผนที่ เฉพาะเรื่อง มีความ หลากหลาย ชนิดมาก จึงได้น าเสนอตัวอย่าง เพียงบางชนิด ดังนี้

ประเภทของแผนที่

(1) แผนที่ ท่องเที่ยว มีการจัดท าทั้งในระดับประเทศ ระดับภาค และระดับจังหวัด โดยเน้นข้อมูลด้านการเดินทาง ได้แก่ ถนน ทางรถไฟ ที่ตั้งจังหวัด

อำเภอ สถานที่ ท่องเที่ยว สถานที่พัก ร้านอาหาร แผนที่ท่องเที่ยวมี รูปแบบที่เข้าใจง่าย ดังนั้นจึงมักจัดพิมพ์ มาตราส่วนเล็ก เช่น 1 : 1,000,000 หรือ 1 : 2,000,000 หรือเล็กกว่า เป็นต้น

(2) แผนที่ แสดงเส้นทางคมนาคม แผนที่นี้จัดท าโดยกรมทางหลวง เพื่อแสดง รายละเอียดของเส้นทางคมนาคม ได้แก่ ถนน ทางรถไฟ สนามบิน เป็นหลัก แผนที่แสดงเส้นทางคมนาคมมี
ประโยชน์เพื่อใช้ก าหนดเส้นทาง ระยะทางโดยประมาณ และการหลีกเลี่ยงเส้นทางที่มีปัญหา เนื่องจากมีข้อมูลไม่มากนัก แผนที่ที่พิมพ์ออกมาจึงมีมาตราส่วนเล็ก เช่น 1 : 1,000,000 หรือเล็กกว่า เป็นต้น

(3) แผนที่ ธรณีวิทยา เป็นแผนที่ที่แสดงอายุของหิน หน่วยหิน ชนิดหิน และโครงสร้าง ทางธรณีวิทยา นอกจากนี้ยังแสดง ข้อมูลประกอบอื่นๆ เช่น ทางหลวงสายสำคัญ ที่ตั้งของจังหวัด
เป็นต้น โดยข้อมูลประกอบจะแตกต่างกันไปตามมาตราส่วน แผนที่ธรณีวิทยามาตราส่วน 1 : 1,000,000 1 : 250,000 และ 1 : 50,000 จะมีการน ามาใช้งานมาก ซึ่งแผนที่นี้จัดท าโดยกรมทรัพยากรธรณี

(4) แผนที่ การใช้ที่ดิน แผนที่นี้แสดง การใช้ประโยชน์ ที่ดิน โดยเฉพาะด้าน การเกษตร มาตราส่วนที่จัดท า เช่น 1 : 1,000,000 และ 1 : 250,000 และ 1 : 50,000 และเนื่องจากการใช้

ประโยชน์ที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงมาก และรวดเร็ว แผนที่การใช้ ที่ดินจึงต้องมีการปรับปรุง ให้ทันสมัยตลอดเวลา ซึ่งเป็นงานที่ละเอียดและต้องใช้เวลามาก แต่ในปัจจุบัน มีการใช้ข้อมูลจาก ดาวเทียมเพื่อ จัดทำแผนที่การใช้ที่ดินท าให้การทำงานรวดเร็วมากขึ้น แผนที่นี้จัดทำโดยกรมพัฒนา ที่ดินหรือสำรักงานเศรษฐกิจ การเกษตร3 epiewin

3.) องค์ประกอบ แผนที่ แผนที่โดย ทั่วไปมี องค์ประกอบที่สำคัญ ดังนี้

4.) การอ่านแผนที่ แผนที่เป็น เครื่องมือ ทางภูมิศาสต ร์ที่มี ความสำคัญ ต่อการดำเนินชีวิต หลายประการ เช่น ใช้แผนที่ ในการเดินทาง การวางแผน การท่องเที่ยว การศึกษา สภาพ ของพื้นที่ เพื่อการป้องกันและ แก้ปัญหาภัย พิบัติต่างๆ เป็นต้น ดังนั้น ผู้ใช้หรือ ผู้ศึกษาแผนที่จึง

ควรมีความรู้ และความเข้าใจ องค์ประกอบต่างๆ ของแผนที่ และฝึกฝน การอ่านแผนที่อยู่เสมอ จึงจะสามารถ อ่านแผนที่ได้ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และนำและข่าวสาร ด้านภูมิลักษณ์ ทั้งสิ่งที่
เกิดขึ้น เองตาม ธรรมชาติ และสิ่งที่ มนุษย์ สร้างขึ้น แสดงด้วย สัญลักษณ์แผนที่

5.) ประโยชน์ ของแผนที่ แผนที่เป็นเครื่องมือ ทางภูมิศาสตร์ที่มี ความจำเป็นสำหรับ การศึกษาสภาพแวดล้อม ทางภูมิศาสตร์ และเป็นประโยชน์ ในการ ดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ สล็อต

แผนที่

บทความที่น่าสนใจ >> viu

Content by:

ข้อมูลอัพเดทล่าสุด : 13 กันยายน 2020 (ล่าสุดปี 2020)